วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ฮาร์แวร์



ฮาร์แวร์ (Hardware)
ฮาร์แวร์หมายถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทำงานประสานกันเพื่อให้เกิดการประมวลผล การจัดเก็บ และการเผยแพร่ข้อมูล/สารสนเทศ บางครั้งเราจะเรียกฮาร์แวร์ว่า device ซึ่งหมายถึงอุปกรณ์นั่นเอง ฮาร์ในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ อุปกรณ์ส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ (input devices) หน่วยประมวลผล(processors) อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (output devices) และอุปกรณ์ที่มำหน้าที่เป็นหน่วยเกก็บความจำภายนอกหรือหน่วยความจำสำรอง (secondary storage dvices)
อุปกรณ์ส่งข้อมูลขาเข้า(Input Devices)
Input devices ใช้เป็นอุปกรณ์ในการส่งข้อมูลสารสนเทศและชุดคำสั่งเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ใน เบื้องต้นนี้ควรรู้จักประเภทต่างๆ ของฮาร์ดแวร์กลุ่มนี้ ซึ่งมีอยู่ 7 ประเภทที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่ คีย์บอร์ดหรือแป้นพิมพ์ เทอร์มินัล เมาส์ สแกนเนอร์หรือเครื่องสแกน ไมโครโฟน อุปกรณ์จานแถบแม่เหล็ก และอุปกรณ์ส่งข้อมูลกราฟิก
หน่วยประมวลผล (Processors)
เป็นฮารด์แวร์ที่สำคัญที่สุดของระบบคอมพิวเตอร์ เปรียบเสมือนระบบสมองของร่างกายมนุษย์ ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและสารสนเทศด้วยชุดคำสั่งที่ส่งเข้าไปให้ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ ส่วนของหน่วยผลนี้เป็นฮาร์ดแวร์ที่ประกอบด้วยแผงวงจรต่างๆ แผงวงจรที่สำคัญ ได้แก่ หน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU (cetral processing) และหน่วยความจำ (memory) รวมทั้งแผงวงจรพิเศษที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของคอมพิวเตอร์ในลักษณ์ต่างๆ เช่น เพื่อให้ประมวลผลข้อมูลที่อยู่ในรูปของเสียง กราฟิก และ image หรือภาพประเภทต่างๆได้ หรือเพื่อเพิ่มความเร็วในการทำงานของคอมพิวเตอร์ เป็นต้น แต่สิ่งสำคัญ


อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ (Output Devices)
เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลของการทำงานในระบบคอมพิวเตอร์ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ ์ลำโพง และอุปกรณแสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของกราฟิก ่
อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยเก็บความจำภายนอกหรือหน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage Devices) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลสารสนเทศและชุดคำสั่ง มีหลายประเภทที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ จานแม่เหล็ก แถบแม่เหล็กและจานแสงแต่ละประเภทมีคุณสมบัติและข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน เหมาะกับการใช้งานในลักษณะต่างๆ สามารถเก็บสารสนเทศรูปแบบต่างๆ ได้อย่างไม่จำกัดและสามารถนำสารสนเทศกลับมาใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ในครั้งต่อๆ ไปได้เมื่อต้องการ อ้างอิง http://www.google.com/ หนังสือคอม

ไม่มีความคิดเห็น: